Page 44 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 44
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์คุณภาพและคุณค่าทางโภชนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์
มีการท�าสูตรผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่พอใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ น�าผลิตภัณฑ์มาวิเคราะห์
คุณภาพด้านต่างๆ ได้แก่ คุณภาพทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัส
ผลที่ได้จากการด�าเนินกิจกรรม การพัฒนาจากโครงการในครั้งก่อนเพื่อให้เกษตรกร
และกลุ่มฯ มีสินค้าประจ�าชุมชนเพิ่มมากขึ้นรวมถึงการพิจารณาวัตถุดิบภายในท้องถิ่นที่มีการ
ปลูกเพิ่มเติมนอกเหนือจากอ้อย โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการมาร่วมในการพัฒนาสูตรของ
ผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของกลุ่มฯ โดยมีกิจกรรมการเพิ่มมูลค่าไซรัปน�้าอ้อย (น�้าปลา
หวาน,น�้าย�า) การบริหารการขนส่ง การบริหารสินค้าคงคลัง การลงบัญชีชุมชน และการคิด
ต้นทุนผลิตภัณฑ์ โดยผลิตภัณฑ์ที่มีกระบวนการผลิต ผ่านกระบวนการผลิต การแปรรูปที่ถูกหลัก
อาหารปลอดภัย ด้วยการวิเคราะห์คุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไซรัป
น�้าอ้อยอินทรีย์ประกอบด้วยการวิเคราะห์ 2 ส่วน คือ การวิเคราะห์คุณภาพ และการวิเคราะห์
คุณค่าทางโภชนาการ
1. การวิเคราะห์คุณภาพ ได้แก่ ค่าความเป็นกรดด่าง และการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์
2. การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ ได้แก่ ปริมาณโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต น�้าตาล
โซเดียม และพลังงานทั้งหมด ตามวิธีการ Association of Official Analytical Chemists
A.O.A.C. (1990)
กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้การถ่ายทอดสูตรกระบวนการ
ผลิตไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์
กลุ่มเป้าหมายได้การรับถ่ายทอดองค์ความรู้สู่การปฏิบัติการแปรรูปที่เป็นไปตามหลัก
การและมาตรฐานที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP) และการเตรียมการเบื้องต้นเพื่อขอมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น > 43