Page 42 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 42

ในพื้นที่ อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่การเกษตร

                                             ทั้งหมด  203,220 ไร่ แบ่งเป็นการเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ โดย
                    บทน�ามีการเพาะปลูกอ้อยถึง 42,378 ไร่ ซึ่งในส่วนนี้การเพาะปลูก
                  อ้อยในต�าบลเกาะรัง อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ปลูกอ้อยจ�านวน 21,461 ไร่

                  (ส�านักงานเกษตรอ�าเภอชัยบาดาล, 2564)
                         ด้วยในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จ.ลพบุรี ได้ให้การสนับสนุน

                  ให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากอ้อยคั้นน�้าอินทรีย์ ในพื้นที่ ต�าบลเกาะรัง อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัด
                  ลพบุรี ให้มีคุณภาพและมีการเพิ่มมูลค่าให้แก่อ้อยคั้นน�้าอินทรีย์ แก่กลุ่มเกษตรกร ซึ่งได้แก่
                  ผลิตภัณฑ์น�้าอ้อยคั้นสด และไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ฯ ดังกล่าวได้รับการตรวจรับรอง

                  คุณค่าทางโภชนาการและมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ให้แก่ชุมชนเพิ่มมากขึ้น และใน
                  ปีงบประมาณ 2566 ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ยังได้มีนโยบายสนับสนุน ต่อยอดการ

                  พัฒนาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความยั่งยืนให้แก่ชุมชนท้องถิ่น และส่งเสริมชุมชนให้มีการ
                  เพิ่มทักษะในการเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ภายในชุมชนเพื่อการเพิ่มรายได้และการต่อยอดความ
                  เป็นมาตรฐานในทุกกระบวนการผลิตจนถึงผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูป เพื่อขอรับมาตรฐานในระดับที่

                  ยอมรับได้ต่อไปในอนาคตให้แก่ชุมชน ทางคณะผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้เล็งเห็นความส�าคัญ
                  และเป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคให้มีผลิตภัณฑ์จากน�้าอ้อยอินทรีย์ให้มีความหลากหลาย

                  เพิ่มขึ้น การน�าวัตถุดิบภายในชุมชน มาร่วมในการผลิตเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆภายในชุมชน
                  ด้วยเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยคั้นน�้าอินทรีย์ ต�าบลเกาะรัง อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี  มิได้เพียง
                  ปลูกอ้อยอินทรีย์เพียงอย่างเดียวภายในชุมชน แต่ยังมีการปลูก พริก หอมแดง กระเทียม มะนาว

                  และพืชสวนอินทรีย์อื่นๆ เพิ่มเติม จึงท�าให้คณะผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นการพัฒนาเพื่อ
                  เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์จึงได้น�าเอาวัตถุดิบภายในชุมชนมาพัฒนาให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

                  เพื่อการเพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคและตอบโจทย์การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามนโยบายของมหา
                  วิทยาลัยฯ ต่อไป



                  วัตถุประสงค์ของโครงการ
                         1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร  ต�าบลเกาะรัง  อ�าเภอ

                  ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
                         2. เพื่อวิเคราะห์คุณภาพและคุณค่าทางโภชนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของกลุ่ม
                  เกษตรกร ต�าบลเกาะรัง  อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

                         3. เพื่อเพิ่มนวัตกรรมกระบวนการผลิตไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร ต�าบล
                  เกาะรัง  อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

                         4. รวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยีจากชุดโครงการวิจัย และถ่ายทอดสู่ชุมชน



                                103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    41
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47