Page 47 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 47
จังหวัดลพบุรีมีพื้นที่เกษตรกรรม จ�านวน 1,738,695.25 ไร่
ประกอบด้วย พืชไร่มากที่สุด จ�านวน 1,178,988 ไร่ รองลงมา
บทน�าคือ นาข้าว มีการเพาะปลูกข้าว 766,813 ไร่ การท�านาในจังหวัด
ลพบุรี ส่วนใหญ่จะท�านาในเขตชลประทาน ซึ่งกระจายอยู่ในอ�าเภอบ้านหมี่ อ�าเภอโคกส�าโรง
และอ�าเภอท่าวุ้ง (ส�านักงานจังหวัดลพบุรี, 2563, หน้า 7) การท�านาในแต่ละปีส่งผลท�าให้มีฟาง
ข้าวจ�านวนมาก โดยฟางข้าว (Rice straw) เป็นส่วนของต้นข้าวที่เหลือหลังการเก็บเกี่ยว และ
น�าเมล็ดข้าวออกแล้ว ฟางข้าวที่มีสภาพสมบูรณ์จะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ใบข้าว ปล้องข้าว
และรวงข้าว ส่วนฟางข้าวที่ได้จากการเก็บด้วยการตัดในแปลงนาจะมีส่วนประกอบของตอซัง
หรือกอข้าวรวมด้วย แต่จะอยู่ในลักษณะที่เป็นฟางแตกแยกแยะได้ยากว่าเป็นส่วนใด โดยทั่วไป
ฟางข้าวแบ่งได้เป็น 3 ประเภท จากวิธีการรวบรวม ได้แก่ 1. ฟางข้าวจากการเกี่ยวมือ และ
นวดมือ 2. ฟางข้าวจากการเกี่ยวมือ และนวดด้วยรถนวด 3. ฟางข้าวจากรถอัดฟางข้าว ฟาง
ข้าว ประกอบไปด้วย เซลลูโลส 37.4% เฮมิเซลลูโลส 44.9% ลิกนิน 4.9% silicon ash 13.1%
อีกทั้งในฟางข้าวมีรูพรุนและเส้นใยเพื่อใช้ในการดูดซับและการแลกเปลี่ยนไอออน กับโลหะหนัก
ที่อยู่ในรูปสารละลายได้ (นพวรรณ ขจรกีรติกุล และคณะ, 2548; สุพรรษา มีถาวร, 2556)
ฟางข้าวเหล่านี้ ถือเป็นผลพลอยได้ทางการเกษตรจากนาข้าวที่มีประโยชน์ในหลายด้าน และใช้
เป็นวัตถุดิบส�าคัญส�าหรับการผลิตทางเกษตรอื่นๆ เช่น น�าไปเลี้ยงสัตว์ ใช้คลุมหน้าดินเพื่อป้องกัน
การสูญเสียความชื้น หรือใช้ในการเพาะเห็ด แต่เกษตรกรในพื้นที่ท�านาส่วนใหญ่มักใช้วิธีการเผา
ฟางข้าวเพื่อเตรียมพื้นที่ส�าหรับการท�านาครั้งต่อไปที่เร็วที่สุด
ถึงแม้เกษตรกรจะทราบว่าการเผาฟางข้าวก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและภาวะโลกร้อน
แต่เกษตรกรก็ไม่มีศักยภาพที่จะลงทุนเพิ่มเพื่อก�าจัดฟางข้าว การเผาในพื้นที่การเกษตรส่งผลก
ระทบต่อสุขภาพของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งยังส่งผลต่อการท�า
อาชีพการเกษตรโดยตรง ท�าให้ดินเสื่อมโทรม สูญเสียอินทรียวัตถุ และขาดความอุดมสมบูรณ์
จึงต้องใส่ปุ๋ยเคมีและสารเคมีมากขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ได้ผลผลิตต�่ากว่าที่ต้องการ
และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�าให้เกิดสภาวะโลกร้อน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล และฝนแล้งเป็นเวลา
ยาวนาน (วิรัตน์ นาคเอี่ยม และคณะ, 2557) นอกจากนี้การเผาในพื้นที่การเกษตร หากท�าการ
เผาจนเกิดอันตรายมีความผิดตามกฎหมายมีโทษทั้งจ�าและปรับทั้งมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
ของประชาชน ปัญหาการเผาท�าให้เกิดสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงในช่วงเดือน
ธันวาคมถึงมีนาคมของทุกปี ทั้งนี้ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ พบว่าพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวและ
มีการเผาฟางข้าวมากที่สุดในประเทศไทยมีถึง 13 จังหวัดซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง เช่น
ชัยนาท ลพบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา เป็นต้น
ดังนั้น หากสามารถเพิ่มมูลค่าจากการใช้ประโยชน์ของฟางข้าวได้ จึงน่าจะเป็นแรงจูงใจ
ให้เกษตรกรหยุดเผาฟางข้าว และเป็นการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อีกทางหนึ่ง (ลัดดาวัลย์
46 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น