Page 49 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 49

มีส่วนร่วมของชุมชน ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองกระดี่ ต�าบลท่าวุ้ง อ�าเภอท่าวุ้ง

           จังหวัดลพบุรี
                  3. เพื่อพัฒนาช่องทางการตลาดออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ฟางข้าวอัดเม็ด ของกลุ่มวิสาหกิจ
           ชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองกระดี่ ต�าบลท่าวุ้ง อ�าเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี

                  4. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่นให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการหมุนเวียนเศษวัสดุ
           ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด และลดปัญหาการเผาฟางของเกษตรกรพื้นที่ อ�าเภอท่าวุ้ง

           จังหวัดลพบุรี


           กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�าเนินโครงการ

                  วิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองกระดี่ ต�าบลบางลี่ อ�าเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี


           ระยะเวลาด�าเนินโครงการ

                  ธันวาคม 2565 -  สิงหาคม 2566



           วิธีการในการด�าเนินการและผลที่เกิดจากด�าเนินโครงการ
                  กิจกรรมที่ 1 การศึกษาปัญหาและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก
           ฟางข้าว

                  เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับฟางข้าว เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เกษตรกรและผู้น�า
           ชุมชนที่เกี่ยวข้อง  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การสัมภาษณ์ และการสนทนา

           กลุ่ม โดยมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มวิสาหกิจ ดังนี้
                  1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟางข้าว โดยศึกษาส่วนผสมกระบวนการในการผลิตและ

           การตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติผลิตภัณฑ์
                  2. การศึกษาบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ฟางข้าวอัดเม็ด
                  3. การศึกษาช่องทางการตลาดออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ฟางข้าวอัดเม็ด

                  ผลที่เกิดจากกิจกรรม  ได้ทราบถึงปัญหาราคาในการจ�าหน่ายฟางข้าวอัดก้อนทั้งแบบ
           เหมาไร่และแบบอัดก้อนเองมีราคาค่อนข้างต�่า และหากมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟางข้าวเพื่อ

           จ�าหน่ายทางกลุ่มวิสาหกิจยังขาดบรรจุภัณฑ์ ตราสัญลักษณ์ รวมทั้งช่องทางการตลาดออนไลน์
           ของผลิตภัณฑ์ กลุ่มวิสาหกิจจึงมีความต้องการในประเด็นดังต่อไปนี้
                  1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟางข้าวของกลุ่มวิสาหกิจ โดยการผลิตฟางข้าวเป็นแบบอัด

           เม็ด (เพื่อความสะดวกในการใช้งาน) โดยใช้ส�าหรับเป็นวัสดุรองกรงสัตว์เลี้ยงชนิดต่าง ๆ ทั้ง นก
           หนู กระต่าย แกสบี้ แฮมสเตอร์ เม่นแคระ แมว เป็นต้น รวมทั้งส่วนผสม กระบวนการในการ

           ผลิตและการตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผลิตภัณฑ์ว่ามี



           48    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54