Page 53 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 53

ด้านสังคม

                  1. ชุมชนมีการบริหารจัดการตนเองได้ดีขึ้น สร้างความเข้มแข็งแก่ท้องถิ่น
                  2. มีการเผยแพร่องค์ความรู้ภายในชุมชนเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
           มีการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตฟางข้าวอัดเม็ดท�าให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ การจัดการและ

           การจัดเก็บองค์ความรู้ที่เป็นระบบ รวมทั้งการส่งต่อความรู้จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน
           ของคนในชุมชน

                  3. เป็นข้อมูลพื้นฐานในการน�าไปขยายผลในพืชเศรษฐกิจหลักชนิดอื่น ๆ เช่น ซังข้าวโพด
           ใบอ้อย เป็นต้น
                  ด้านสิ่งแวดล้อม

                  1. น�าวัสดุในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับฟางข้าว เกิดการหมุนเวียนเศษ
           วัสดุธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด

                  2. ลดปัญหาการเผาฟางข้าวในพื้นที่อ�าเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี คุณภาพอากาศดีขึ้นได้
           ในอนาคต
                  3. คนในชุมชนเห็นความส�าคัญของการรักษาสิ่งแวดล้อมและตระหนักถึงการใช้ประโยชน์

           จากฟางข้าวอย่างคุ้มค่า ด้วยแนวคิด Circular Economy หรือเศรษฐกิจหมุนเวียน


           ข้อเสนอแนะ

                  กระบวนการผลิตฟางข้าวอัดเม็ดโดยใช้เครื่องตีป่น และเครื่องอัดเม็ด ใช้พลังงานไฟมาก
           อาจส่งผลต่อต้นทุนในการผลิตกรณีค่าไฟปรับขึ้นราคา หากเครื่องจักรที่ใช้สามารถใช้พลังงาน

           จากแสงอาทิตย์จะท�าให้ลดต้นทุนได้ในระยะยาว




           เอกสารอ้างอิง
           กรมส่งเสริมการเกษตร. (2565). ระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร.
                  สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม, 2565, จาก https://smce.doae.go.th/index.php
           นพวรรณ ขจรกีรติกุล, ปาริชาต บรรลิขิต และวรรณวรางค์ ชูประเสริฐ. (2548). การดูดซับโลหะตะกั่วโดยใช้ฟางข้าว.
                  ปริญญาวิศวกรรมศาตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี.
           วิรัตน์ นาคเอี่ยม สุนันท์ สีสังข์ และพรชุลีย์ นิลวิเศษ. (2557). การผลิตข้าวและการจัดการตอซังข้าวของเกษตรกร เขต
                  ชลประทานในอ�าเภอวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก.ใน การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
                  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4. วันที่ 26-27 พฤศจิกายน  2567 (หน้า 1-10).  นนทบุรี:
                  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
           ส�านักงานจังหวัดลพบุรี กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด. (2563). แผนพัฒนาจังหวัดลพบุรี ประจ�าป
                  งบประมาณ พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565). ลพบุรี.
           สุพรรษา มีถาวร. (2556). การศึกษาความสามารถในการดูดซับสีของฟางข้าวในระหว่างการย้อมผ้า. ปริญญา
                  วิศวกรรมศาตรมหาบัณฑิต.ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
                  ลาดกระบัง.



           52    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58