Page 56 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 56

จะมีลักษณะเป็นเจลเข้มข้นที่อุดมไปด้วยกรดไฮยาลูรอนิค (Hyaluronic Acid) และอัลลันโทอิน

                  (Allantoin) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ลดการระคายเคืองของผิว เพิ่มความชุ่มชื้นฟื้นฟูเซลล์ผิว
                  ที่เสื่อมสภาพ และยังพบกรดกลูโคนิค (Gluconic Acid) ที่สามารถเร่งการผลัดเซลล์ผิวที่ชั้นผิว

                  หน้าก�าพร้าจะเสริมการกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน ซึ่งท�าให้ผิวหน้าชุ่มชื้น นุ่มนวล มีความ
                  ยืดหยุ่นดี ลดริ้วรอยและช่วยเติมเต็มผิวที่หย่อนคล้อยโดยสารอัลลันโทอินจาก
                         ชุมชนต�าบลบ้านหม้อ อ�าเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นชุมชนที่ผลิตเห็ดเยื่อไผ่อินทรีย์

                  จ�าหน่ายให้แก่ผู้สนใจในประเทศและต่างประเทศ พร้อมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดสิงห์บุรีเห็นความ
                  ส�าคัญของการสร้างรายได้เสริมให้กับเกษตรกร โดยส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะเห็ดเนื่องจากเป็น

                  กิจกรรมที่ให้ผลตอบแทนเร็ว และใช้พื้นที่บริเวณรอบบ้านได้ โดยมีเป้าหมายส่งเสริมและพัฒนา
                  ให้เกษตรกรผลิตเห็ดให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถแปรรูปได้ทั้งเพื่อการบริโภคและเวช
                  ส�าอาง มีการเชื่อมโยงการตลาดแบบครบวงจรเพื่อให้เกษตรกรมีรายได้อย่างยั่งยืน อีกทั้งชุมชน

                  ต�าบลท่าศาลา ต�าบลโคกล�าพาน มีผู้ผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีมาตรฐานทั้งที่เป็นเวชส�าอาง
                  และอาหารหลายกลุ่มพร้อมทั้งมีแรงงานในท้องถิ่นที่พร้อมจะด�าเนินการผลิตสินค้าใหม่ๆออกมาร

                  องรับตลาดหลังยุคโควิท-19
                         จากเหตุผลดังกล่าว คณะทีมวิจัยจึงมีความสนใจร่วมโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
                  ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประเภทโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ Universi-

                  ty as a Market place ประจ�าปีงบประมาณ   พ.ศ. 2566 โดยการน�าองค์ความรู้และนวัตกรรม
                  เกี่ยวกับการน�าสารสกัดจากเห็ดเยื่อไผ่ในจังหวัดสิงห์บุรีมาผลิตเป็นสินค้าเวชส�าอางในการดูแล

                  ผิวพรรณให้มีความชุ่มชื้นและยืดหยุ่นดี และน�ามาผลิตเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อบ�ารุงร่างกาย
                  และสมองของผู้สูงอายุที่มีคุณภาพสูงและมีราคาไม่แพงเพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการจ้างแรงงาน
                  และผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น



                  วัตถุประสงค์

                         1. เพื่อศึกษาความต้องการผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวหน้าจากเห็ดเยื่อไผ่อินทรีย์
                         2. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวหน้าจากเห็ดเยื่อไผ่อินทรีย์
                         3. เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวหน้าจากเห็ดเยื่อไผ่อินทรีย์

                         4. ทดสอบความพึงพอใจของผู้อุปโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์บ�ารุงผิวหน้าจากเห็ดเยื่อไผ่
                  อินทรีย์



                  กลุ่มเป้าหมาย
                         ชุมชนต�าบลท่าศาลา, กลุ่มบานชื่น บาโทนี่  ต�าบลท่าศาลา อ�าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

                         ชุมชนต�าบลโคกล�าพาน ต�าบลโคกล�าพาน อ�าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี



                                103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    55
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61