Page 43 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 43

กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�าเนินโครงการ

                  กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยคั้นน�้าอินทรีย์ ต�าบลเกาะรัง อ�าเภอ
           ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี


           ระยะเวลาในการด�าเนินโครงการ
                  ธันวาคม 2565 - สิงหาคม 2566



           วิธีการในการด�าเนินการและผลที่เกิดจากด�าเนินโครงการ
                     กิจกรรมที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์  เป็นการวิจัยแบบมีส่วนร่วม

           (Participatory Action Research : PAR) บทสรุปที่ได้จากการร่วมสนทนากลุ่ม ได้มาซึ่งสภาพ
           ปัญหา อุปสรรค และบริบทวัตถุดิบภายในชุมชนและความต้องการของกลุ่มเกษตรกร แนวทาง

           การการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร แนวทางการวิเคราะห์คุณภาพ
           และคุณค่าทางโภชนาการ เพิ่มนวัตกรรมกระบวนการผลิตไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร
           ต�าบลเกาะรัง อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี  ได้ร่วมเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ

           เพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ คิดค้นสูตรผลิตภัณฑ์ ตรวจวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ เพื่อ
           ให้ได้รสชาติที่ทางกลุ่มพึงพอใจ โดยอยู่ภายใต้มาตรฐานอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์

                  ผลที่เกิดจากการด�าเนินกิจกรรม  พบว่าภายในชุมชนมีการปลูก กระเทียม และหอมแดง
           เสริมนอกจากอ้อย เพื่อการบริโภคภายในครัวเรือนและการส่งขายตามสัญญาในการปลูก จึง
           ท�าให้มีกระเทียมและหอมแดงที่ตกเกรดหลงเหลืออยู่ภายในชุมชนเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยว  จึงน�า

           มาซึ่งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ของไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์ของ
           กลุ่มเกษตรกร ต�าบลเกาะรัง อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ได้ผลิตภัณฑ์ที่นอกเหนือจากการ

           พัฒนาและได้สูตรการท�าผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีรสชาติตรงตามความต้องการของกลุ่มฯ ได้แก่ น�้าปลา
           หวานไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์และน�้าย�าไซรัปน�้าอ้อยอินทรีย์

























           42    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48