Page 34 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 34

แคนส์ (Candida albicans) คลอสตริเดียม (Clostridium spp.) และแบคทีเรีย ยีสต์ และรา

                  สบู่สมุนไพรน้อยหน่าที่ได้รับการพัฒนาโดยคณะผู้วิจัยมีความปลอดภัยส�าหรับผู้บริโภค และมี
                  ประสิทธิภาพยับยั้งเชื่อแบคทีเรีย
                         4. การอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสบู่น้อยหน่าพระที่นั่งเย็น

                           คณะผู้วิจัยได้เชิญวิทยากร 2 ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร.วันวิสาข์ ลิจ้วน อาจารย์ประจ�า
                  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี และอาจารย์เสาวพร สุขเกิด อาจารย์

                  ประจ�าสาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มาถ่ายทอดวิธีการผลิตสบู่สมุนไพรผสม
                  สารสกัดจากใบน้อยหน่าพระที่นั่งเย็นและสมุนไพรอื่นๆ เป็นสูตรที่ได้จากการพัฒนาในข้อที่ 3
                  เพื่อให้ชุมชนได้ความรู้ในการผลิตสบู่น้อยหน่าที่ได้มาตรฐานคุณภาพ

                         5. พัฒนาบรรจุภัณฑ์
                           เป็นการประชุมแบบมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและคณะผู้วิจัยเพื่อวางแผนพัฒนา

                  บรรจุภัณฑ์ส�าหรับบรรจุสบู่สมุนไพรน้อยหน่าพระที่นั่งเย็น ผ่านกระบวนระดมสมองและท�าแผนที่
                  ความคิด (Mind mapping) จากนั้นได้น�าไปออกแบบบรรจุภัณฑ์
                         6. การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพร

                  เป็นการอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องบทบาทและความส�าคัญบรรจุภัณฑ์เพื่อการเพิ่มขีดความสามารถ
                  การแข่งขันทางการตลาดให้แก่สินค้า  รวมทั้งลักษณะของบรรจุภัณฑ์ที่ได้ และท�าการวิพากษ์

                  บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบ และน�าไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อใช้งานต่อไป
                         7. การผลิตสบู่เพื่อจ�าหน่าย  กลุ่มสตรีพระที่นั่งเย็นท�าการผลิตสบู่และจ�าหน่ายในงาน
                  สถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ระหว่างวันที่ 18-22 กันยายน พ.ศ. 2566



































                                103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    33
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39