Page 33 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 33
2) พัฒนาสูตรสบู่โดยการทดลองสกัดด้วยน�้าและแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ พบว่า
ไม่มี เมื่อตรวจคุณสมบัติทางเคมี โดยสบู่สูตรสกัดด้วยน�้า มีค่าความเป็นกรด-เบส เท่ากับ 9.80
± 0.03 มีปริมาตรฟอง เท่ากับ 74 มิลลิลิตร ค่าสี L* (ความสว่าง), a* (- a* แสดงสีเขียว
และ + a* แสดงสีแดง) และ b* (- b* แสดงสีน�้าเงิน และ + b* แสดงสีเหลือง) เท่ากับ 12.94
± 2.22, - 1.23 ± 0.26 และ 7.94 ± 1.35 ตามล�าดับ และสบู่สูตรสกัดด้วยแอลกอฮอล์ 95 เปอร์
เซ้นต์ พบว่า มีค่าความเป็นกรด-เบส เท่ากับ 9.77 ± 0.01 มีปริมาตรฟอง เท่ากับ 73 มิลลิลิตร
ค่าสี L*, a* และ b* เท่ากับ 24.86 ± 0.98, - 3.12 ± 0.33 และ 16.04 ± 1.75 ตามล�าดับ
จากนั้น ท�าการทดลองเพิ่ม ชื่อสบู่สูตร 1 A และ 1B โดยท�าโดยการลดปริมาตรสาร
สกัดให้เหลือ 10% ตามสูตรของกลุ่ม และเพิ่มปริมาณใบน้อยหน่าจ�านวน 5 เท่า และท�าการ
ตรวจคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
ผลพบว่า เมื่อท�าการทดสอบโดยการตรวจพินิจและการดม พบว่า สบู่ทั้งสูตร 1A
และ 1B มีกลิ่นหอมอ่อนๆ และไม่มีสิ่งแปลกปลอม เชน ฝุ่น เส้นผม ชิ้นส่วนของแมลง
เมื่อท�าการทดสอบคุณสมบัติทางเคมี พบว่า สบู่สูตร 1A มีค่าความเป็นกรด-เบส
เท่ากับ 9.93 ± 0.07 มีปริมาตรฟอง เท่ากับ 70 มิลลิลิตร ค่าสี L*, a* และ b* เท่ากับ 27.28
± 0.54, - 0.60 ± 0.54 และ 0.23 ± 0.22 ตามล�าดับ ส่วนสบู่สูตร 1B มีค่าความเป็นกรด-เบส
เท่ากับ 9.87 ± 0.07 มีปริมาตรฟอง เท่ากับ 70 มิลลิลิตร ค่าสี L*, a* และ b* เท่ากับ 24.53
± 2.69, - 0.37 ± 0.16 และ 3.37 ± 1.92 ตามล�าดับ
จากนั้น ท�าการทดลองฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus พบ
ว่า สบู่สูตร 1A มีความสามารถในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus โดยมีวงใสการยับยั้ง
เท่ากับ 11.07 มิลลิเมตร ส่วนสบู่สูตร 1B มีความสามารถในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus
aureus โดยมีวงใสการยับยั้ง เท่ากับ 11.33 มิลลิเมตร สรุปจากผลการศึกษา พบว่า สบู่ทุกสูตร
มีคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ได้แก่ ค่ากรด – เบส อยู่ในช่วง 8 – 10 ซึ่งเป็นค่ามาตรฐาน
ของสบู่ และปริมาตรฟองมีปริมาณเพียงพอในการช�าระล้าง ค่าสีที่ได้ เป็นสีเขียว เหลือง ซึ่งเป็น
สีธรรมชาติที่ได้จากพืชสมุนไพรที่น�ามาใช้ โดยค่าของสีจะลดลงเมื่อลดปริมาตรของสารสกัดลง
แต่จะท�าให้สบู่มีความแข็งตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งสบู่ทุกสูตรยังสามารถยับยั้งเชื้อ Staphylococcus
aureus ซึ่งเป็นแบคทีเรียก่อโรคที่สามารถพบได้บริเวณผิวหนังได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากนั้น น�าสบู่จากสูตรที่พัฒนาแล้วไปตรวจหาค่าการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ โดย
อ้างอิงเกณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. เอส 13-2561 (สบู่ก้อนผสมสมุนไพร) ซึ่งผลการตรวจ
สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดเพื่อจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ ท�าให้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป็น
ที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ และสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ผลการตรวจ
พบว่า สบู่ทุกสูตรไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ ได้แก่ ซูโดโมแนส แอรูจิโนซา (Pseudo-
monas aeruginosa) สตาฟิโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) แคนดิดา อัลบิ
32 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น