Page 30 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 30
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. ศึกษาความต้องการต่อผลิตภัณฑ์สบู่น้อยหน่าของผู้อุปโภค
2. พัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่น้อยหน่าพระที่นั่งเย็น
1.1 การวิเคราะห์องค์ประกอบสารสกัดจากใบน้อยหน้าพระที่นั่งเย็น
1.2 การพัฒนาสูตรสบู่น้อยหน่าพระที่นั่งเย็น
1.3 การทดสอบคุณภาพสบู่ด้านคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
3. พัฒนาบรรจุภัณฑ์สบู่น้อยหน่าพระที่นั่งเย็น
4. ทดสอบความพึงพอใจของผู้อุปโภคที่มีต่อสบู่น้อยหน่าพระที่นั่งเย็น
กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�าเนินโครงการ
กลุ่มสตรีพระที่นั่งเย็น หมู่ 8 ต�าบลทะเลชุบศร อ�าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ระยะเวลาด�าเนินโครงการ
มกราคม - สิงหาคม 2566
วิธีการด�าเนินโครงการ
1. ส�ารวจความต้องการผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์สบู่และประชาพิจารณ์คืนข้อมูลการ
ศึกษาแก่ชุมชน
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพร ผล
การศึกษาจะน�ามาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาตัวผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพรน้อยหน่า
พระที่นั่งเย็นของกลุ่มสตรีพระที่นั่งเย็น ให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดและเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขันได้
ประเด็นที่ท�าการส�ารวจ ได้แก่ 1) ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบ
แบบสอบถาม 2) พฤติกรรมการใช้สบู่ของผู้ตอบแบบสอบถาม และ 3) ทัศนคติของผู้ตอบ
แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยการเลือกใช้สบู่สมุนไพร
การประชาพิจารณ์คืนข้อมูลการส�ารวจความต้องการผู้บริโภค ผู้วิจัยจัดการประชุม
ย่อยกับชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อคืนข้อมูลการศึกษา ดังนี้
1) มีการระบุสรรพคุณของสบู่ที่ชัดเจน โดยเน้นที่คุณสมบัติการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
และเชื้อโรคอื่นๆ บนผิวกาย เพื่อสุขอนามัยของร่างกาย ส่วนคุณสมบัติอื่นๆ ที่มาจากส่วนผสม
อื่น เช่น วิตามินซี ผิวกระจ่างใส เป็นคุณสมบัติรองและจะไม่แสดงไว้เพื่อให้สบู่สมุนไพรน้อยหน่า
พระที่นั่งเย็น ตราบ้านเย็น มีต�าแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนในการรับรู้ของผู้บริโภค
2) มีการระบุสรรพคุณของสบู่ที่ชัดเจน โดยเน้นที่คุณสมบัติการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น > 29