Page 186 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 186

จากการได้รับมอบหมายให้ด�าเนินโครงการทั้งงานวิจัยในรูปแบบ

                                            โอทอป งานมหาวิทยาลัยสู่ต�าบล ซึ่งได้รับการท�างานเข้ากับ
                    บทน�าชุมชน ต�าบลหนองย่างเสือมาโดยตลอดในระยะ 4 ปีที่บริการ

                  ด้านวิชาการแก่ชุมชน โดยมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อพืชผักผลไม้ปลอดภัย (GAP) หนองย่างเสือ
                  เป็นวิสาหกิจชุมชน ฯ ต้นแบบซึ่งมีกลุ่มที่มีความเข้มแข็งและกล้าที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้น
                  มาทดลองตลาดอยู่เสมอ จากที่ได้บริการชุมชนและเข้าส�ารวจได้พบข้อมูลมากมายที่ทั้งทราบแล้ว

                  และยังไม่ทราบ โดยกล่าวคือ ต�าบลหนองย่างเสือเป็นต�าบลหนึ่งที่อยู่ใน อ�าเภอมวกเหล็ก จังหวัด
                  สระบุรี ที่เป็นเมืองเกษตรกรเลี้ยงโคนม โคเนื้อ และซึ่งมีปริมานพอกันกับเกษตรกรแบบปลูกพืช
                  และผลไม้ ซึ่งในปัจจุบันนี้จากที่ได้รับการสอบถามเชิงสัมภาษณ์ท�าให้ได้รับทราบว่าเกษตรกรที่

                  อยู่ในพื้นที่ต�าบลหนองย่างเสือจะมีการส่งโคเนื้อเพื่อใช้ในการบริโภคทั้งภายในประเทศ และนอก
                  ประเทศ ซึ่งประกอบกับการท�าผลิตมัลเบอร์รี่ของวิสาหกิจ ฯ ที่ผลิตเองและรับจากสมาชิกของ
                  กลุ่มซึ่งผลผลิตจากสมาชิกมีทั้งได้มาตรฐานและขาดมาตรฐาน จึงท�าให้เกิดมัลเบอร์รี่บางส่วนที่

                  รับมานั้นท�าได้เพียงแค่น�้ามัลเบอร์รี่ไม่สามารถแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอื่นได้ และ
                  ประกอบกับการเก็บข้อมูลพื้นฐานจากส�านักงานปศุสัตว์จังหวัดสระบุรี โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม

                  จังหวัด (GPP) ในปี 2562 มีมูลค่า 255,627 ล้านบาท รายได้เฉลี่ย 336,393 บาท/ราย/ปีจ้าน
                  วนประชากร 643,507 คน 286,397 ครัวเรือน และเป็นครัวเรือน ภาคการเกษตร 32,653 ครัว
                  เรือน คิดเป็นร้อยละ 11.40 ของครัวเรือนทั้งหมด และในด้านเกษตรของจังหวัดโดยข้อมูลมีสัตว์

                  ที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจคือ โคนม/ เนื้อ ที่มีเกษตรกรเลี้ยงโคนม/เนื้อ จ�านวน 4,709 ราย โดยมีวัว
                  จ�านวน 160,205 ตัว แบบGAP 163 ราย ที่ได้รับการรับรองใหม่ และต่ออายุ 594 ราย และแบบ

                  อินทรีย์ 8 ราย
                          ดังนั้น ทางทีมงานได้เล็งเห็นความเป็นไปได้ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สู่
                  ผลิตภัณฑ์จากผลมัลเบอร์รี่ เป็นผลิตภัณฑ์น�้าซอสเกรวีจากมัลเบอร์รี่ เพื่อเป็นการเพิ่มผลิตภัณฑ์

                  และเสริมรายได้ให้กับวิสาหกิจชุมชน ฯ ซึ่งพร้อมที่จะร่วมรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดังกล่าว


                  วัตถุประสงค์ของโครงการ

                          1.  เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์น�้าซอสเกรวีจากมัลเบอร์รี่
                          2.  เพื่อออกแบบและพัฒนาฉลาก ตราสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์น�้าซอสเกรวีจาก
                  มัลเบอร์รี่

                          3.  เพื่อออกแบบและผลิตกล่องส�าหรับบรรจุผลิตภัณฑ์น�้าซอสเกรวีจากมัลเบอร์รี่
                          4.  เพื่อพัฒนาบูธประชาสัมพันธ์ส�าหรับแสดงสินค้า









                              103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    185
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191