Page 163 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 163
3. สรุปและประเมินผล (CHECK)
3.1 ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานตามตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs)
3.2 สรุปรายงานผลการด�าเนินโครงการตามแบบฟอร์มเสนอมหาวิทยาลัย
3.3 ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes)
4. น�าผลการประเมินไปปรับปรุง (ACT)
4.1 รายงานผลการด�าเนินงาน วิธีการปรับปรุงการด�าเนินโครงการในครั้งต่อไป แก่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ผลที่เกิดจากการด�าเนินโครงการ
ด้านนโยบาย เป็นการนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชน/ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่หน่วยงานใน
พื้นที่ เช่น เกษตรและสหกรณ์/พัฒนาชุมชน/กศน.
ด้านเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกกลุ่มและชาวบ้านในชุมชน
ด้านสังคม ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรในศูนย์การเรียนรู้เพื่อเผยแพร่
ให้กับเกษตรกรในชุมชน โดยเฉพาะเกษตรกรและแรงงานสูงวัย
ด้านวิชาการ สร้างองค์ความรู้ในการเพิ่มมูลค่าเห็ด
การน�าไปใช้ประโยชน์ของชุมชน
กลุ่มเห็ดในชุมชนมีตัวเลือกในการสร้างรายได้เพื่อประกอบอาชีพเพิ่ม มีการใช้เทคโนโลยี
ทางการเกษตรที่เรียกว่า IoT มาลดเวลาในการดูแลเห็ดทางด้านปัจจัยการเติบโตของเห็ดซึ่งสวน
ทางกับผลผลิตที่ได้มากขึ้น โดยควบคุมอุณหภูมิ น�้า และความความชื้นในโรงเรือน เมื่อมีผลผลิต
ที่เกิดแล้วน�ามาจ่ายหน่ายแก่ชุมชน หรือส่งต่อตัวแทนเพื่อน�าไปแปรรูปที่มีมูลค่าที่เพิ่มขึ้น โดย
การแปรรูปหลักๆ คือข้าวเกรียบเห็ด ออกจ�าหน่ายแบบตากแห้งและพร้อมรับประทาน ซึ่งเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่เก็บไว้ได้นาน ลงทุนต�่าแต่ก�าไรสูง มีบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าเป็นของกลุ่มเอง จาก
การด�าเนินโครงการศักยภาพของชุมชนเข้มแข็งขึ้น สามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน
162 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น