Page 168 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 168
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อเตรียมเชือกกล้วยจากกาบกล้วยน�้าว้า
2. เพื่อศึกษาการย้อมสีเชือกกล้วยน�้าว้าด้วยสีย้อมธรรมชาติ
3. เพื่อศึกษาปริมาณสารเคลือบกันน�้าไมโครแวกซ์ที่เหมาะสมในการน�ามาเคลือบเชือก
กล้วยน�้าว้าและศึกษาสมบัติทางกายภาพของเชือกกล้วยน�้าว้าที่ผ่านการเคลือบส�าหรับใช้ในงาน
หัตถกรรม
4. เพื่อศึกษาวิธีการน�าเชือกกล้วยน�้าว้าไปท�าผลิตภัณฑ์ส�าหรับงานหัตถกรรม
5. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการตลาดออนไลน์ของผลิตภัณฑ์
กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�าเนินโครงการ
กลุ่มสตรีบ้านคลองมะเกลือ
หมู่ 13 ต�าบลวังม่วง อ�าเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี
ระยะเวลาในการด�าเนินโครงการ
ธันวาคม 2565 - สิงหาคม 2566
วิธีด�าเนินโครงการ
1. การลงพื้นที่น�าเสนอโครงการ มีวัตถุประสงค์ คือ
1.1 น�าเสนอวัตถุประสงค์ของโครงการและขั้นตอนการด�าเนินโครงการโดยชุมชน
มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการ
ตลาด
1.2 เปิดโอกาสให้ชุมชนแสดงความคิดเห็นและถ่ายทอดองค์ความรู้ เช่น ข้อมูลพื้น
ฐานด้านก�าลังคนของกลุ่ม และข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีขั้นตอนการด�าเนินงาน คือ
2.1 การศึกษาการเตรียมเชือกกล้วยจากกาบกล้วยน�้าว้าที่ย้อมสีจากธรรมชาติ โดย
ใช้สารเคลือบกันน�้าไมโครแวกซ์ ด�าเนินการโดยการเตรียมเชือกจากกาบกล้วยน�้าว้า การย้อม
สีเชือกกล้วยด้วยสีจากธรรมชาติจากดินด�า และศึกษาปริมาณสารเคลือบกันน�้าไมโครแวกซ์ที่
เหมาะสมบนเชือกกล้วย โดยวิธีการมาตรฐานที่อ้างอิงจากงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ จากนั้นทดสอบ
คุณสมบัติทางกายภาพของเชือกกล้วยน�้าว้าที่ผ่านการเคลือบส�าหรับใช้ในงานหัตถกรรม
2.2 การลงพื้นที่เพื่อน�าเชือกกล้วยที่เตรียมได้ไปทดสอบการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ในขั้นตอนนี้ชุมชนจะมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและน�าเสนอแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์
แบบใหม่
103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น > 167