Page 109 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 109

ผลที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการ

                  ผลผลิต (Output)
                  1. สมาชิกกลุ่มได้องค์ความรู้ในการพัฒนาดินปลูก

                  2. ได้สูตรและผลิตภัณฑ์ดินปลูกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์มีดีที่บางคู้
                  3. มีตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (LOGO)  สติกเกอร์  บรรจุภัณฑ์ส�าหรับการจ�าหน่ายดิน
           ปลูกในรูปแบบต่าง ๆ

                  5. การมีส่วนร่วมพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนระหว่างหน่วยงาน



                  ผลลัพธ์ (Outcome)/ผลกระทบ (Impact) ที่เกิดกับชุมชน
                  1. สมาชิกในกลุ่มและชุมชนน�าดินไปเพาะปลูกพืชเกษตรอินทรีย์
                  2. กลุ่มมีอาชีพเสริมและรายได้เสริมจากการจ�าหน่ายดินปลูก

                  3. การได้มาท�ากิจกรรมร่วมกันส่งผลให้เกิดความรักสามัคคีในชุมชน  เห็นศักยภาพ
           คุณค่าและเกิดความภาคภูมิใจในชุมชน

                  3. ชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่มีผลิตภัณฑ์ในชุมชนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้
                  4. เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเพื่อช่วยกันพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์
           ชุมชน ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กับ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์มีดีที่บางคู้  กรม

           ส่งเสริมการเรียนรู้ต�าบลบางคู้ (สกร.บางคู้)  ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
           (สสส.)



           ข้อเสนอแนะ
                  1. ในการผลิตดินปลูกแต่ละครั้งอาจใช้เวลาในการหมักดินที่แตกต่างกันเพื่อการย่อย

           สลายใบไม้ วัชพืช มูลสัตว์  ดังนั้นเกษตรกรควรสังเกตจากการรดน�้าในกองในแต่ละครั้ง
                  2. การเก็บรักษาดินปลูก หลังล้มกองควรตากให้แห้ง ประมาณ 80-90 % เพื่อไม่ให้เกิด

           เชื้อราจากความชื้นก่อนบรรจุถุงเพื่อการจัดจ�าหน่าย
                  3. กรณีจ�าหน่ายเป็นดินผสมพร้อมปลูก หากมีเครื่องจักรในการตี/คลุกดิน จะช่วยให้
           เกิดความละเอียดและผสมให้เข้ากันมากกว่าการคลุกด้วยมือ


















           108    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114