Page 105 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 105

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ารัสชี้แนะแนวทาง
                                      ในการด�าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

             บทน�าเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการด�ารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน
           ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ โดยค�านึงถึงความพอเพียง ความพอประมาณ ความ

           มีเหตุผล รวมถึงความจ�าเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีต่อการมีผลกระทบใด ๆ  อันเกิด
           จากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบ และ
           ความระมัดระวัง ด�าเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา เพื่อให้สมดุลและพร้อม

           ต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุสังคมและสิ่งแวดล้อม
           เศรษฐกิจพอเพียงแบบพึ่งพาตนเอง

                  ปัจจุบันต�าบลบางคู้ อ�าเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี มีประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพ
           เกษตรกรรม และมีการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์มีดีที่บางคู้ ท�าการปลูกผักอินทรีย์
           จนได้รับหนังสือรับรองแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS จังหวัดลพบุรี มีสมาชิกใน

           กลุ่มกว่า 20 คน รวมพื้นที่ปลูกประมาณ 40 ไร่ ซึ่งผักสวนครัวที่ปลูกนั้นเป็นพืชผักที่ปลูกง่าย
           และมีสรรพคุณทางยา เป็นพืชสมุนไพรไทย มีคุณค่าทางโภชนาการ เริ่มจากการปลูกผักสวนครัว

           ที่ใช้บริโภคภายในครัวเรือนนอกจากจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนแล้วยังช่วยให้ผู้บริโภค
           มีสุขภาพดี ส่วนที่เหลือยังจัดจ�าหน่ายในนามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตามพื้นที่ตลาดนัดอ�าเภอ
           ท่าวุ้ง อ�าเภอเมือง ศาลากลางจังหวัด เป็นต้น การปลูกผักสวนครัวเป็นแบบธรรมชาติ ปลูกพืช

           ผักขนาดเล็ก และใช้เวลาสั้น ที่ปลูกในบริเวณบ้านใช้พื้นที่ไม่มาก มีการท�าดินเพาะ และดินปลูก
           ที่เหมาะกับผักระยะสั้นด้วยตนเอง ภายหลังประสบปัญหาเรื่องดินคุณภาพเสื่อม ขาดแร่ธาตุ

           อาหาร พืชผักเจริญเติบโตได้ไม่สมบูรณ์
                   คณะผู้ร่วมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ University as a Market
           place ได้ลงพื้นที่ส�ารวจความต้องการในการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนของต�าบลบางคู้

           พบความต้องการของกลุ่มวิสาหกิจฯ ดังกล่าว ที่มีความต้องการในการพัฒนาดินเพื่อการเพาะ
           ปลูกโดยการใช้วัตถุดิบเหลือใช้ในพื้นที่ เช่น ฟางข้าว ใบไม้ ต้นหญ้า ต้นกล้วย มูลสัตว์ ฯลฯ เพื่อ

           การน�ามาเพาะปลูกพืชวิถีเกษตรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หากผลิตได้เพียง
           พอเหลือใช้สามารถจ�าหน่ายในรูปของดินปลูกที่ใส่บรรจุภัณฑ์เป็นถุงพร้อมขาย อีกทั้งเพื่อเรียน
           รู้หลักการใช้ดินให้มีคุณภาพเหมาะกับการเพาะปลูก พืชระยะสั้น (ผักอายุสั้น) ในช่วงน�้าน้อย

           สามารถด�าเนินชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ในสภาวะปัจจุบันได้



           วัตถุประสงค์ของโครงการ
                  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจแนวทางการท�าเกษตรแบบพึ่งพาตนเองโดยน้อมน�า
           หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง




           104    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110