Page 101 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 101
ชุมชนบ้านดีลัง เป็นกลุ่มที่เริ่มจากการทอผ้า และเรียนรู้เพิ่มเติม
เกี่ยวกับการจักสาน โดยได้งบประมาณจากศูนย์พัฒนาคุณภาพ
บทน�าชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุบ้านดีลัง ในการท�าตะกร้าสาน
เริ่มแรก จากตะกร้าปอป่าน และในพื้นที่ต�าบลดีลัง มีจ�านวนหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้าน ประชากร
ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชส�าคัญที่ปลูก ได้แก่ นาข้าว ไร่งา ข้าวโพด
กระเจี๊ยบ ทานตะวัน อ้อย มันส�าปะหลัง อาชีพที่ท�ารายได้รองลงมา ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์ เช่น
การเลี้ยงโคนม โคเนื้อ สุกร และไก่ จึงมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยการจัดเวทีชุมชน เพื่อ
เสนอปัญหาความต้องการของประชาชน ในด้านการเกษตร และเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการเกษตรและยามว่างจากการท�า
เกษตรกรรมและการเลี้ยงสัตว์ กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้านจะมีการรวมตัวกันและหากิจกรรมท�ากัน
ในกลุ่ม เช่น การท�าตะกร้าสานจากเชือกปอป่าน
ดังนั้น ทางทีมงานได้เล็งเห็นการส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของใช้จากเส้นพลาสติก
และทางชุมชนมีความต้องการพัฒนาของใช้จากเส้นพลาสติก ด้วยลายต่างๆ ที่ทันสมัย และน�า
ไปใช้ประโยชน์ได้ เพื่อเสริมรายได้ให้กับคนในชุมชน
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ของใช้จากเส้นพลาสติก
2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ในการสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
3. เพื่อออกแบบและจัดท�าป้ายแท็กห้อยผลิตภัณฑ์ของใช้จากเส้นพลาสติก
กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�าเนินโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุบ้านดีลัง ต�าบลดีลัง อ�าเภอโคกส�าโรง
จังหวัดลพบุรี
วิธีการด�าเนินการโครงการ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการของชุมชนบ้านดีลัง
2. ร่วมด�าเนินการท�าผลิตภัณฑ์ของใช้จากเส้นพลาสติก
3. ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ในการออกแบบลายกระเป๋าสาน
4. ถ่ายทอดความรู้ในการการสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
5. ร่วมให้ข้อเสนอแนะในการออกแบบและจัดท�าโลโก้ของผลิตภัณฑ์
6. ร่วมให้ข้อเสนอแนะในการออกแบบและจัดท�า Packaging ของผลิตภัณฑ์
7. ประเมินความพึงพอใจในการให้บริการวิชาการ และการน�าไปใช้ประโยชน์
100 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น