Page 79 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 79
ชุมชนซับสมบูรณ์ อ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี ประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร เช่น ท�านา ท�าไร่ พืชเศรษฐกิจที่ส�าคัญของต�าบล
บทน�าได้แก่ ข้าวโพด อ้อย มันส�าปะหลัง และสวนมะพร้าว ซึ่งการ
เพาะปลูกต้องพึ่งพาสภาพดินฟ้าอากาศเป็นส�าคัญ ท�าให้ราคาสินค้าเกษตรมีความอ่อนไหว
กระทบต่อรายได้ที่ไม่แน่นอน ส่งผลให้ประชาชนบางส่วนขาดรายได้นอกเหนือจากฤดูกาลเพาะ
ปลูก โดยพบว่าประชาชนบางส่วนมีการน�ากะทิจากการคั้นเนื้อมะพร้าวมา น�ามาปรุงอาหาร ท�า
ขนมหวาน เพื่อการบริโภคในครัวเรือน หรือจ�าหน่าย จึงท�าให้เกิดการของเหลือในกระบวนการ
ซึ่งของดังกล่าวนั้น คือ กะลามะพร้าว
วิสาหกิจชุมชน ก่อตั้งครั้งแรกเมื่อปี 2546 โดยเริ่มท�าขนมดอกจอก มะพร้าวแก้ว และ
กล้วยกวน แรกเริ่มรวมตัวของแม่บ้าน ท�ากิจกรรมร่วมกัน ท�าขนมร่วมกัน โดยยังไม่มีการลงหุ้น
ร่วมกัน ทั้งนี้เนื่องจากในหมู่บ้านมีมะพร้าวจ�านวนมาก มะพร้าวเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการท�าขนม
หวาน เมื่อใช้ประโยชน์จากเนื้อมะพร้าวแล้วจะเหลือเศษวัสดุ คือ กะลามะพร้าว ประกอบกับได้
รับค�าแนะน�าและเห็นตัวอย่างจากชุมชนในจังหวัดอื่นที่มีมะะพร้าวจะนวนมากเช่นกัน และได้น�า
มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว กลุ่มมีความสนใจจึงได้ติดต่อ ศูนย์ กศน. เพื่อขอ
ความช่วยเหลือ โดยเชิญเป็นวิทยากรให้ความรู้ทางด้านกะลามะพร้าว สอนพื้นฐานเบื้องต้นใน
การแปรรูป เช่น วิธีการเจาะ วิธีการถักร้อย ฝึกท�าให้เป็นรูปทรงต่างๆ ต่อมาเริ่มมีความช�านาญ
และฝึกฝนตนด้วยตนเองจากสมาชิกแรกเริ่มราว 10 คน สมาชิกทุกคนเริ่มมีความช�านาญเพิ่ม
มากขึ้น ช่วงแรกมาช่วยกันผลิตไม่สม�่าเสมอ เพราะสมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักในการ
ท�าไร่ท�านา ปัจจุบันมีสมาชิกราว 20 คน จนเมื่อปี 2547 กลุ่มผ่านการคัดสรรจากอ�าเภอ และได้
จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าวบ้านโปร่งเกตุ ต�าบลซับสมบูรณ์
อ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี
ดังนั้น ในการด�าเนินการวิจัยครั้งนี้จึงเป็นการศึกษาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
จากกะลามะพร้าว ที่เหมาะสมกับบริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งเพิ่มโอกาสทางการตลาดใน
การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าวบ้านโปร่งเกตุ
ต�าบลซับสมบูรณ์ อ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับผลิตภัณฑ์
กะลามะพร้าว ผลักดันให้ชุมชนมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นน�าไปสู่ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจบนรากฐาน
ของชุมชน ตอบสนองตามพระบรมราโชบาย รัชกาลที่ 10 เพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็งบนฐาน
ของการมีส่วนร่วม และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติในการขับเคลื่อนประเทศของรัฐบาล
นอกจากนั้น ยังเป็นไปตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการสู่ท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เทพสตรี
78 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น