Page 84 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 84

จ�านวนการพิมพ์ที่ไม่ต�่ากว่า 500 ใบ ท�าให้ต้องใช้งบประมาณที่สูงมาก ซึ่งไม่คุ้มค่ากับราคา

                  ผลิตภัณฑ์ที่พึงจะจ�าหน่ายได้ จึงได้ปรับปรุงและออกแบบเป็นถุงผ้า ซึ่งยังคงตอบโจทย์จากผล
                  การส�ารวจ ด้าน “มีขนาดที่พกพาได้สะดวก สามารถเคลื่อนย้าย พกพาได้ถือง่าย” จึงน�ามาใช้

                  เป็นบรรจุภัณฑ์ใน 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่ ดังนี้
                             ผลิตภัณฑ์ที่ 1 กระถางต้นไม้จากผลมะพร้าวแห้ง
                             ออกแบบครั้งที่ 1















                             ผลิตภัณฑ์ที่ 2 สายแมสจากกะลา

                             ออกแบบครั้งที่ 1



















                         หลังจากที่ได้ออกแบบครั้งที่ 1 ได้ท�าการ ศึกษา ส�ารวจข้อมูลจากชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง

                  จากผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ต้นแบบที่ได้ออกแบบไว้ ด้วยการส�ารวจความคิดเห็น ได้ผลการ
                  ส�ารวจดังนี้
                             ผลิตภัณฑ์ต้นแบบกระถาง มีข้อสรุปดังนี้

                             มีระดับความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรก ดังนี้ สามารถสะท้อนอัตลักษณ์หรือ
                  วัฒนธรรม ของชุมชนได้ชัดเจน (4.69) สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ประโยชน์ได้หลาย

                  อย่าง (4.59) และตราสินค้าสื่อความหมายได้ดี (4.41)
                             มีระดับความพึงพอใจต�่าสุด 3 อันดับแรก ดังนี้ ความแข็งแรง ทนทาน ใช้ได้นาน
                  (4.31) มีคุณภาพ ปลอดภัย เป็นมิตรกับสุขภาพ สิ่งแวดล้อม (4.34) และมีรูปแบบที่ตอบสนอง

                  ต่อความต้องการของลูกค้า (4.38)



                                103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    83
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89