Page 81 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 81
ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม รวมถึงมีการท�าสื่อเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้การพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ และเผยแพร่ในช่องยูทูปของมหาวิทยาลัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. ด�าเนินการส�ารวจความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์จาก
กะลา เก็บรวบรวมด้วยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ และแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง รวม
จ�านวน 400 ชุด ได้ผลการส�ารวจสรุปประเด็นส�าคัญ ๆ ดังนี้
ด้านพฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์จากกะลา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน
ใหญ่ เคยใช้ผลิตภัณฑ์จากกะลา และเหตุผลในการตัดสินใจซื้อส่วนใหญ่ตัดสินใจซื้อเพราะต้องการ
สนับสนุนสินค้าชุมชน รองลงมาชื่นชอบในสินค้าจากธรรมชาติ และซื้อเพื่อเป็นของฝากหรือของ
ที่ระลึก
ด้านผลิตภัณฑ์
ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ ใน 3 อันดับแรก ดังนี้
1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ (4.69)
2. สินค้าจากกะลาน�าไปใช้ประโยชน์ได้จริงและใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง (4.59)
3. ตราสินค้าสื่อความหมายได้ดี (4.53)
ด้านที่ควรปรับปรุง โดยพิจารณาจากด้านที่มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด 3 อันดับ
สรุปได้ดังนี้
1. ความแข็งแรง ทนทาน ใช้ได้นาน (4.571)
2. ความสัมพันธ์กลมกลืนระหว่าง สินค้าจากกะลา บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า (4.37)
3. ความปลอดภัยสอดคล้องตามมาตรฐาน (4.38)
ด้านบรรจุภัณฑ์
ความพึงพอใจต่อบรรจุภัณฑ์ ใน 3 อันดับแรก ดังนี้
1. บรรจุภัณฑ์ช่วยส่งเสริมให้สินค้าที่อยู่ด้านในดูดีมีคุณค่าเพิ่มขึ้น (4.56)
2. บรรจุภัณฑ์มีความสวยงามเหมาะส�าหรับเป็นของฝาก (4.53)
3. บรรจุภัณฑ์สามารถใส่สินค้าได้ในปริมาณที่พอเหมาะใช้งานง่าย (4.50)
ด้านที่ควรปรับปรุง โดยพิจารณาจาก ด้านที่มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด 3 อันดับ
สรุปได้ดังนี้
1. บรรจุภัณฑ์ยังไม่สามารถปกป้องผลิตภัณฑ์/สินค้าให้ปลอดภัยจากแรงกระแทก
จากภายนอกได้ (4.06)
2. บรรจุภัณฑ์ยังไม่สามารถป้องกันสินค้า ไม่ให้สัมผัสกับ น�้า ความชื้นหรืออากาศ
ภายนอก (4.25)
3. บรรจุภัณฑ์ยังไม่มีขนาดที่พกพาได้สะดวก เคลื่อนย้าย พกพาได้ถือง่าย (4.28)
80 < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น