Page 116 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 116

การทอผ้าเป็นหัตกรรมและศิลปะอย่างหนึ่งที่มีมาตั้งแต่สมัย

                                             โบราณ เนื่องจากการทอผ้าเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของมนุษย์
                    บทน�าเพราะถือเป็นการผลิตเครื่องนุ่งห่มซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่
                  ส�าคัญต่อการด�ารงชีวิต ของมนุษย์ นอกจากนี้การทอผ้าถือเป็นศิลปะประเภทหนึ่ง เนื่องจากการ

                  ทอผ้าในแต่ละกลุ่มชนล้วนมีรูปแบบลวดลายของผืนผ้าที่แตกต่างกัน ซึ่งรูปแบบลวดลายของผืน
                  ผ้าจะบ่งบอกเรื่องเล่าหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่ผ่านระยะเวลามายาวนาน รวมทั้งยังบอกถึง

                  เอกลักษณ์และวัฒนธรรม ความเชื่อ ความเป็นมาของกลุ่มชนนั้นๆ (จุรีวรรณ จัยพลา และคณะ,
                  2559 หน้า 85)
                         กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านทราย หมู่ที่ 2 ต�าบลบ้านทราย อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ก่อตั้ง

                  เมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมี นางปราณี ต้นเทียน เป็นประธานกลุ่ม ได้ท�าการรวบรวมสมาชิกได้
                  ประมาณ 20 คน เพื่อท�าผ้าทอไว้ใช้สวมใส่ โดยผ้าทอได้สืบสานมาจากบรรพบุรุษไทยพรวนที่

                  อพยพมาจากประเทศลาว นานมากกว่า 200 ปี ซึ่งสมัยก่อนการทอผ้าไม่ได้เป็นอาชีพหลัก แต่
                  จะทอผ้าในช่วงว่างเว้น จากการท�านา ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ในการทอผ้าเพื่อไว้สวมใส่ในวันประเพณี
                  ของชาวไทยพรวน อาทิเช่น ประเพณีบุญสามเดือน ประเพณี ก�าฟ้า ประเพณีบุญข้าวจี่ ประเพณี

                  บุญเทศมหาชาติ เป็นต้น โดยจะมีการรวมกลุ่มเพื่อทอผ้าบริเวณใต้ถุนวัดบ้านทราย อ�าเภอบ้านหมี่
                  จังหวัดลพบุรี ต่อมาวัดบ้านทรายได้ท�าการสร้างโบสถ์ใหม่ ชาวบ้านต่างแยกย้ายออกมาทอผ้าที่

                  บ้านตนเอง หลังจากนั้นจึงเกิดการรวมกลุ่มแม่บ้านเพื่อทอผ้า ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้ โดย
                  มีชื่อกลุ่มว่ากลุ่มสตรีผ้าทอ ต�าบลบ้านทราย อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ในส่วนของการผลิต
                  นั้น จะมีการก�าหนดให้สมาชิกน�าไปผลิตเองในแต่ละบ้าน ด้านการจ�าหน่าย มีการจ�าหน่ายโดย

                  ลูกค้ามาซื้อที่บ้านของประธานกลุ่ม และมีการออกร้านที่เมืองทองธานี และงานของดีบ้านหมี่
                  รายได้ประมาณเดือนละ 15,000 บาท อย่างไรก็ตาม กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านทราย หมู่ที่ 2 ต�าบล

                  บ้านทราย อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ยังมีปัญหาในเรื่องของผลิตภัณฑ์ผ้าทอที่มีอยู่เป็นจ�านวน
                  มากขายไม่ได้ จึงมีความต้องการในการจัดการผ้าทอทีมีอยู่ เพื่อน�าไปพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์อื่น
                  ที่มีรูปแบบลวดลายที่ทันสมัยตรงกับความต้องการของลูกค้า (พัชรินทร์ ภูเทียมศรี, สัมภาษณ์,

                  15 พฤศจิกายน 2565)
                         จากการที่คณะผู้จัดท�าโครงการบริการวิชาการได้ลงพื้นที่เพื่อด�าเนินการส�ารวจปัญหา

                  และความต้องการของกลุ่มสตรีทอผ้าบ้านทราย หมู่ที่ 2 อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี พบปัญหา
                  และความต้องการ จ�านวน 2 เรื่อง คือ 1) ผลิตภัณฑ์ผ้าทอที่มีอยู่ขายไม่ได้เป็นจ�านวนมาก
                  เนื่องจากมีรูปแบบลวดลายผ้าทอไม่ทันสมัย สีของผ้าทอไม่เด่นชัด ท�าให้ไม่ตรงกับความต้องการ

                  ของลูกค้าในปัจจุบัน จึงท�าให้ผ้าทอที่มีอยู่คงเหลือเป็นจ�านวนมาก จึงมีความต้องการในการ
                  แปรรูปผลิตภัณฑ์ของผ้าทอที่มีอยู่ เพื่อน�าผ้าทอไปพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์อื่นที่เป็นรูปแบบ

                  ผลิตภัณฑ์ ที่ทันสมัยตรงกับความต้องการของลูกค้า เช่น น�าไปท�ากระเป๋าถือ กระเป๋าสะพาย



                              103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น  >    115
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121