Page 127 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 127

3.  วางแผนการด�าเนินงานโครงการ การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่น กลุ่มผู้

           ผลิตเสื้อผ้าแบรนด์ “สลุง” ต�าบลโคกสลุง อ�าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
                  ผลที่เกิดจากด�าเนินงาน  ผลจากการศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแบรนด์สลุงพบว่า
           มีรูปแบบเสื้อผ้าเพียงประเภทเดียวคือ ชุดล�าลอง  ผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา

           ผลิตภัณฑ์ร่วมกันระหว่างนักวิชาการกับชุมชน พบว่าชุมชนมีความพร้อมเรื่องการผลิตเช่น ความ
           พร้อมของช่างทอผ้า ความพร้อมของช่างตัดเย็บ รวมทั้งด�าเนินการวางแผนการออกแบบและ
           ผลิตแบบมีส่วนร่วมระหว่างนักวิชาการกับผู้ผลิตในชุมชน



                  ขั้นตอนที่ 2 ด�าเนินการออกแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า
                  1. ด�าเนินการออกแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าด้วยกระบวนการบูรณาการกับรายวิชาการ

           ออกแบบแฟชั่นจากผลิภัณฑ์ท้องถิ่น
                  2. ด�าเนินการคัดเลือกรูปแบบของผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นแบบมีส่วนร่วมเพื่อการสร้าง
           ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าต้นแบบ
                  ผลที่เกิดจากด�าเนินงาน  ได้ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นต้นแบบจากกระบวนการบูรณาการ

           กับการเรียนการสอนรายวิชา การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น จ�านวน 10 แบบ จ�าแนก
           เป็น ชุดท�างาน ชุดล�าลอง ชุดราตรี



                  ขั้นตอนที่ 3 น�าเสนอผลการออกแบบ
                    น�าเสนอผลการออกแบบเสื้อผ้าต่อผู้ประกอบการและชุมชน
                     ผลที่เกิดจากด�าเนินงาน  โครงการการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่น กลุ่ม

           ผู้ผลิตเสื้อผ้าแบรนด์ “สลุง” ต�าบลโคกสลุง อ�าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี จัดกิจกรรมน�าเสนอ
           ผลการด�าเนินงานด้วยวิธีการจัดแฟชั่นโชว์ ณ เวทีกลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้ง บ้านโคก
           สลุง น�าเสนอแบบเสื้อผ้าทั้งสิ้น 10 แบบ



           ผลที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการ
                  1. ผู้ผลิตเสื้อผ้าแบรนด์ “สลุง”ได้เรียนรู้กระบวนการออกแบบเสื้อผ้าโดยการใช้แรง
           บันดาลใจที่พบในชุมชน ได้ต้นแบบเสื้อผ้าแฟชั่นจ�านวน 10 แบบ ที่พร้อมเข้าสู่กระบวนการตัด

           เย็บและจัดจ�าหน่าย เกิดกระบวนการผลิตเสื้อผ้าแฟชั่นจากต้นน�้าถึงปลายน�้า
                  2. ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง มีผลิตภัณฑ์จ�าหน่าย จัดแสดง

           ให้แก่นักท่องเที่ยว น�ารายได้เข้าสู่ชุมชน
                  3. นักศึกษารายวิชาการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ได้เรียนรู้สถานการณ์จริง








           126    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132