Page 123 - 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
P. 123

วิธีด�าเนินโครงการ
                  1. ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและพื้นที่ชุมชนที่มีความต้องการ

           ในการพัฒนาชุมชน แล้วน�าเสนอรายละเอียดโครงการฯ ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
                  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้เกิดองค์ความรู้และทักษะแก่เยาวชน ที่จะน�าไปสร้างและ
           พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเครื่องจักสาน ต�าบลเทศบาลเมืองบ้านหมี่ อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี

                  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างแบนเนอร์ การตลาดออนไลน์ เพื่อเพิ่มศักยภาพใน
           การจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สร้างรายได้ในภาพรวมของชุมชนให้มากขึ้น
                  4. กลุ่มเยาวชนสร้างและพัฒนา จัดจ�าหน่าย ผลิตภัณฑ์ชุมชนจักสาน

                  5. จัดแสดงนิทรรศการผลิตภัณฑ์ชุมชน เผยแพร่องค์ความรู้และผลิตภัณฑ์จักสาน


           ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการ

                  1. เด็กและเยาวชน จ�านวน 40 คน มีความรู้และเกิดทักษะในการสร้างและพัฒนา
           ผลิตภัณฑ์ชุมชนจักสาน การสร้างแบนเนอร์ และการตลาดออนไลน์ สามารถน�าความรู้และทักษะ
           ไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต
                  2. เด็กและเยาวชนได้พัฒนาคุณลักษณะพึงประสงค์ ด้วยความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน

           สร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนจักสานให้ส�าเร็จตามเป้าหมาย ซึ่งเป็นกิจกรรมนี้ท�าให้เยาวชนได้พัฒนา
           คุณลักษณะ คือมีสมาธิมากขึ้น ลดสัดส่วนเวลาการอยู่กับสังคมออนไลน์ ใช้เวลาว่างให้เกิด

           ประโยชน์
                  3. ได้ผลิตภัณฑ์ชุมชนจักสาน ที่มีลักษณะ 2 รูปแบบ คือ ตะกร้า และ ภาชนะใส่แก้วน�้า
                  4. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ได้เรียนรู้แบบบูรณาการจากการร่วมด�าเนิน
           โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สู่ University as Market place
































           122    < 103 ปี เทพสตรี มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128