Page 13 - จิตรกรรมฝาผนังวัดจันทบุรี อำเภอเสาให้ จังหวัดสระบุรี
P. 13
มีพระอินทรนำเสด็จ พระพรหมกางฉัตรถวาย นายฉันนะเกาะหลังมา
ตามเสด็จ ขณะที่พญามาร วสวัตตี เขาหามปราม ผนังดานหลังพระประธาน
เขียนภาพมานลายพุมขาวบิณฑกานแยง แหวกออกเปนพื้นหลังสีเขม พื้น
หลังบรรจุภาพดอกไม ผลไม ที่มาจากตางประเทศ ผนังดานขางตอนบนเหนือ
ชองหนาตาง เขียนภาพเทพชุมนุมทั้งสองดาน ผนังระหวางชองหนาตางเขียน
ภาพประกอบ ทางขวาของพระประธานเขียนภาพทศชาติชาดก 5 ชาติ
ทางซายเขียนภาพพุทธประวัติ ปริศนาธรรม เหลาเทพชุมนุมตางประนม
หัตถ นั่งเรียงรายหันหนาเขาสักการะพระพุทธเจา ระหวางเทพและยักษ
คั่นดวยพุมขาวบิณฑในลักษณะเครื่องบูชา พื้นหลังเขียนลายดอกไมรวง
ถัดขึ้นไปเขียนภาพเฟองอุบะดอกไม ปลายสุดของจิตรกรรมฝาผนังทั้งสอง
ดาน เปนภาพพระพุทธเจา ประทับนั่งขัดสมาธิบนบัลลังกดอกบัว ภาพพุทธ
ประวัติ ตอนพระอินทรและพระพรหมทูลเชิญ ขอใหพระพุทธเจาเสด็จไป
เทศนาโปรดเหลาเทวดาบนสวรรค ฉากในภาพแสดงอาคารเครื่องกอแบบจีน
ภาพพระพุทธองคประทับอยูที่ชั้นบนสุดของเรือนซอนชั้น ชั้นลางมีเหลา
พระสาวกนั่งอยูเต็มฉากอาคารเปนทรงเกงจีน บันไดทางขึ้นอยูภายนอก
ดานขางเปนหอระฆัง กำแพง และอาคารแบบจีน
ความโดดเดนของจิตรกรรมในอุโบสถ อยูที่ฉากบานเรือน ผูคนใน
ทองถิ่น ทางซายในภาพมีเรือนแบบลานนา หรือไทยวน เห็นไดจากกาแล
เหนือจั่วบาน ฝาเรือนผายออก ยกใตถุนสูง หลังคามุงดวยแปนเกล็ด
หญิงชาวบานหมผาเฉวียงบา นุงผาซิ่นยาว เกลามวย บางคนไวผมมวยแบบ
ลาว เด็กเปลือยกายไวผมจุก ชายไทยวนนุงผา หมผาขาวมาเฉวียงบาขณะ
ทำบุญ ไวผมทรงฝาละมี คือ โกนรอบศีรษะ เหลือเฉพาะบริเวณกระหมอม
ซึ่งเปนทรงผมที่นิยมในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ใกลกับแถวของหญิง
ชาวบาน เปนภาพบานของคหบดีชาวจีน เปนตึกสองชั้นกออิฐถือปูน หลังคา
มุงกระเบื้องกาบู ประตูหนาตางและหนาจั่วประดับรูปผลไมดอกทอ รั้วบาน
เปนกำแพงลอมรอบ ประตูกำแพงเปนซุมโคงแบบจีนในภาพมหาภิเนกกรมณ
ทหารรักษาวัง นุงผาโสรงตาหมากรุก มีผาคลุมศีรษะ กำลังหลับ ขณะเจาชาย
สิทธัตถะหลบออกจากปราสาทเพื่อออกบวช ภาพทางขวาของพระประธาน
12